การอ่านร้อยแก้วและร้อยกรองมีความแตกต่างกันอย่างไร การอ่านออกเสียงร้อยและร้อยกรองมีหลักในการอ่านอย่างไร การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองผู้อ่านควรปฏิบัติตนอย่างไร การอ่านออกเสียงร้อยกรองมีวิธีการอ่านอย่างไร การอ่านออกเสียงร้อยแก้วเป็นทักษะที่จําเป็นต้องฝึกฝนหรือไม่ อย่างไร การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ผู้อ่านควรมีการเตรียมตัวอย่างไร การอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง ppt หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ผู้ที่มีแก้วเสียงไม่แจ่มใส หากต้องการอ่านออกเสียงให้ได้ผลดีควรปฏิบัติตนอย่างไร การอ่านอย่างมีลีลาและอารมณ์ มีลักษณะอย่างไร เสียงอ่านที่เป็นธรรมชาติ มีลักษณะอย่างไร

การอ่านออกเสียงร้อยแก้วมีความแตกต่างจากการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหรือไม่ อย่างไร จงอธิบาย

การอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง

หลักในการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

  1. ศึกษาลักษณะบังคับของคำประพันธ์ เช่น การแบ่งจังหวะจำนวนคำสัมผัสเสียง วรรณยุกต์เสียง

หนักเบา

  1. อ่านให้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของคำประพันธ์ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย
  2. อ่านตามบังคับสัมผัส เช่น กัด-ตะ-เว-ที เพื่อให้สัมผัสกับ สัตย์
  3. อ่านออกเสียง ร ล คำควบกล้ำให้ชัดเจน
  4. อ่านออกเสียงดังให้ผู้ฟังได้ยินทั่วถึง ไม่ดังหรือเบาจนเกินไป
  5. คำที่รับสัมผัสกันต้องอ่านเน้นเสียงให้ชัดเจน ถ้าเป็นสัมผัสนอกต้องทอดเสียงให้มีจังหวะยาวกว่าธรรมดา
  6. มีศิลปะในการใช้เสียง เอื้อนเสียง หรือหลบเสียง และทอดจังหวะให้ช้าจนจบบท
  7. ข้อควรคำนึงในการอ่านบทร้อยกรอง

การอ่านบทร้อยกรอง หรือทำนองเสนาะ ให้ไพเราะและประทับใจผู้ฟังมีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้

  1. ก่อนอ่านทำนองเสนาะควรรักษาสุขภาพให้ดี มีความพร้อมทั้งกายและใจ จะช่วยให้มั่นใจมากขึ้น
  2. ตั้งสติให้มั่นคง ไม่หวั่นไหว ตื่นเต้น ตกใจ หรือประหม่า ควรมีสมาธิก่อนอ่านและขณะกำลังอ่านเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด
  3. ก่อนอ่านควรตรวจดูบทอ่านอย่างคร่าวๆ และรวดเร็วเพื่อพิจารณาคำยาก หรือการผันวรรณยุกต์
  4. พิจารณาบทที่จะอ่าน เพื่อตัดสินใจ เลือกใส่อารมณ์ในบทอ่านให้เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อความ
  5. หมั่นศึกษาและฝึกฝนการอ่านทำนองเสนาะจากผู้รู้เกี่ยวกับกลวิธีต่าง ๆ อยู่เสมอจึงจะทำให้สามารถอ่านทำนองเสนาะได้อย่างไพเราะ

ที่มา : //www.dltv.ac.th/teachplan/episode/22471

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

ความหมายของการอ่านออกเสียง

การอ่านออกเสียง คือ การเปล่งเสียงตามอักษรถ้อยคำ และเครื่องหมายต่างๆ ที่กำหนดไว้ให้ถูกต้องชัดเจน เป็นที่เข้าใจแก่ผู้ฟัง

หลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

  1. ก่อนอ่านควรศึกษาเรื่องที่อ่าน
    • ศึกษาเนื้อหา
    • ศึกษาประเภทของเรื่องที่อ่าน
  1. อ่านออกเสียงดังพอเหมาะกับสถานที่และจำนวนผู้ฟัง
  2. อ่านให้คล่อง ฟังรื่นหู และออกเสียงให้ถูกต้อง ตามอักขรวิธี
    • อักขรวิธีในที่นี้ คือตัวอักษร สระ วรรณยุกต์
  1. อ่านออกเสียงให้เป็นเสียงพูดอย่างธรรมชาติที่สุด
  2. อ่านออกเสียงให้เหมาะกับประเภทของเรื่อง
  3. การอ่านในที่ประชุมต้องจับหรือถือบทอ่าน

ข้อควรคำนึงในการอ่านบทร้อยแก้ว

  1. เรื่องที่อ่านสื่ออารมณ์และวัตถุประสงค์ของผู้เขียน
  2. อ่านคำภาษาไทยให้ถูกต้องตามอักขรวิธี
  3. แบ่งวรรคตอนในการอ่าน
  4. อ่านออกเสียงดังพอประมาณ ไม่ตะโกนหรือเสียงเบา
  5. มีสมาธิในการอ่าน

ที่มา : //www.clearnotebooks.com/th/notebooks/1213900

ร้อยเเก้วคืออะไร? แล้วร้อยแก้วต่างกะร้อยกรองอย่างไงครับ

ตั้งกระทู้ใหม่

ช่วยบอกน่อยงับร้อยเเก้วคืออะไร? แล้วร้อยแก้วต่างกะร้อยกรองอย่างไงครับ

รายชื่อผู้ถูกใจกระทู้นี้ คน

แสดงความคิดเห็น

กระทู้นี้ถูกปิดการแสดงความคิดเห็น

43 ความคิดเห็น

DarkSideSystem 22 มิ.ย. 53 เวลา 00:04 น. 1

ตามที่ผมเข้าใจนะ ง่ายๆ คือ

ร้อยแก้ว คือ อ่านคำกลอนหรือบทความเป็นจังหวะในน้ำเสียงธรรมดา
ร้อยกรอง คือ การอ่านบทประพันธ์คำกลอน มีการเอื้อนเสียงและการใช้เสียงสูงเสียงต่ำ

PS.  การให้เป็นคุณสมบัติที่ยิ่งใหญ่ก่อให้เกิดความสุขใจทั้งผู้ให้และผู้รับ

6 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

แต้ว 22 มิ.ย. 53 เวลา 12:58 น. 2

ร้อยแก้วคือบทความ พรรณณาไปเรื่อยๆโดยที่ม่ายต้องคล้องจอง หรือสัมผัสอาราย

แต่ร้อยกรอง คือคำประพันธ์ชนิดหนึ่งที่ต้องอาศัยสัมผัสต่างๆ เพื่อให้ด้ายมาซึ่งความไพเราะ101

2 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

-“Sher฿eT”- 22 มิ.ย. 53 เวลา 13:35 น. 3

ร้อยเเก้วคือ บทความธรรมดาทั่วไป
ร้อยกรองคำประพันธ์ต่างๆๆอ่า
ตามที่เข้าใจ

PS.  ll►I L๏ve MU # MG ◄ll ☼ 111401C ชั้น14หรือป่าว ตายกันพอดีขี้น-ลง ☼

0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

Adonis 23 มิ.ย. 53 เวลา 01:14 น. 5

อยากรู้ว่าน้องเรียนอยู่ชั้นไหน ถ้า ม.ปลายแล้วยังไม่รู้นี่ แสดงว่าการศึกษาของบ้านเราแย่มากๆ

0 2

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

1995.k 4 มิ.ย. 63 เวลา 13:55 น. 5-1

อย่างโทษการศึกษาของไทยเลยมันอยู่ที่คนเรียนด้วย

0 0

  • แจ้งลบ

เด็กผู้หญิง 21 ก.ค. 63 เวลา 17:54 น. 5-2

มันขึ้นอยู่กับบางคนหรือเปล่าคะ ในบางคนอาจไม่ใช่ที่การศึกษาหรอกค่ะ แต่อาจเป็นที่ตัวบุคคลนั้นๆเองมากกว่าที่เลือกจะไม่รับรู้และจดจำ ความคิดเห็นจากเด็กคนหนึ่ง

0 0

  • แจ้งลบ

ออม 15 ก.พ. 54 เวลา 17:49 น. 7

เหมือนเขียนแบบอธิบายปะค๊

ใช่ไหมอะค๊

0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

สลิลทิพย์ 1 มิ.ย. 54 เวลา 18:27 น. 10

เข้าใจแย้วว่า ร้อยแก้ว คือ การอ่านแบบธรรมดา
&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  ร้อยกรอง คือ การอ่านที่มีการเอื้อนเสียงและใช้เสียงสูงต่ำ&nbsp &nbsp &nbsp 
&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  จากซิน ป.5

0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

พรพิมล มะลิลา 19 มิ.ย. 54 เวลา 15:02 น. 12

ร้อยแก้ว มี 3วรรค คำนำ เนื้อเรื่อง สรุป หรือที่เรียกว่าเรียงความไง แต่ ร้อยกรอง คล้ายกับกลอน ต้องมีคำสัมผัส

0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

เจนนี่ 26 ต.ค. 54 เวลา 21:02 น. 14

ร้อยเเก้วคือ ลักษณะการเขียนที่ไม่บังคับจำนวนคำสัมผัสหรือเสียงหนักเบา
ร้อยกรองคือ ถ้อยคำหรือข้อความที่เรียบเรียงตามฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์ชนิดนั้น ๆ ตรงกับคำภาษาอังกฤษที่ว่า&nbsp Poetry

0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

TiPPy 26 ต.ค. 54 เวลา 21:06 น. 15

ความคิดเห็นที่&nbsp 14&nbsp เจ๋งโคตร ๆๆๆๆ เลยอ่ะ
&nbsp  ขอบคุณมากน๊ะ

0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

พิมพ์พิชชา 2 มิ.ย. 55 เวลา 14:04 น. 17

ร้อยแก้ว คือ การอ่านทั่วไปไม่บังคับ คล้ายบทความทั่วไป หรือ เหมือนการเขียนเรียงความ

ร้อยกรองคือ การอ่านที่ต้องบังคับด้วยรูปแบบฉันทลักษณ์ต่างๆ

0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

ชมพู่ 23 ก.ค. 55 เวลา 11:25 น. 19

บทร้อยแก้ว คือ คำหรือข้อความที่เรียบเรียงโดยไม่บังคับสมผัสคล้องจองกัน และไม่บังคับจำนวนคำ เช่น นิทาน เรืองสั้น บทความ เป็นต้น
ร้อยกรอง ก็มีคำ
สัมผัสนอก&nbsp สัมผัสนอกเป็นการแสดงความสามารถในการสร้างความงดงาม
สัมผัสใน&nbsp &nbsp ทำได้โดยสัมผัสสระ เป็นการใช้สระที่เหมือนๆ กันมาสัมผัสกัน
และมีการอ่านที่แตกต่างกัน


0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

อุ้ม 23 ก.ค. 55 เวลา 21:46 น. 20


ใครก็ได้ช่วยด้วย ครูให้หา ร้อยเเก้วเเล้วร้อยกรอง มันเเตกต่างกันอย่างไร&nbsp ขอตัวอย่างหน่อยค่ะ

0 0

  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

รายชื่อผู้ถูกใจความเห็นนี้ คน

แจ้งลบความคิดเห็น

คุณต้องการจะลบความคิดเห็นนี้หรือไม่ ?

บทความที่คนนิยมอ่านต่อ

การอ่านร้อยแก้วและร้อยกรองมีความแตกต่างกันอย่างไร

ร้อยแก้วเป็นความเรียง ส่วนร้อยกรองมีฉันทลักษณ์ ร้อยแก้วมีฉันทลักษณ์ ส่วนร้อยกรองเป็นความเรียง ร้อยแก้วเป็นความเรียง ส่วนร้อยกรองมีฉันทลักษณ์หรือไม่มีก็ได้ ร้อยแก้วมีฉันทลักษณ์หรือไม่มีก็ได้ ส่วนร้อยกรองเป็นความเรียง

การอ่านออกเสียงร้อยและร้อยกรองมีหลักในการอ่านอย่างไร

หลักในการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง อ่านตามบังคับสัมผัส เช่น กัด-ตะ-เว-ที เพื่อให้สัมผัสกับ สัตย์ อ่านออกเสียง ร ล คำควบกล้ำให้ชัดเจน อ่านออกเสียงดังให้ผู้ฟังได้ยินทั่วถึง ไม่ดังหรือเบาจนเกินไป คำที่รับสัมผัสกันต้องอ่านเน้นเสียงให้ชัดเจน ถ้าเป็นสัมผัสนอกต้องทอดเสียงให้มีจังหวะยาวกว่าธรรมดา

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองผู้อ่านควรปฏิบัติตนอย่างไร

1. อ่านให้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของคำประพันธ์ ศึกษาการแบ่งวรรคตอน จำนวนคำ เสียงวรรณยุกต์ เสียงหนักเบา ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของคำประพันธ์แต่ละประเภท 2. อ่านให้มีลีลา รู้จักใช้เสียงเอื้อนและรู้จักทอดจังหวะให้เกิดความไพเราะ การอ่านคำประพันธ์ประเภทโคลง

การอ่านออกเสียงร้อยกรองมีวิธีการอ่านอย่างไร

การอ่านบทร้อยกรอง อ่านได้ ๒ แบบ ๑. อ่านแบบธรรมดา เป็นการอ่านออกเสียงพูดธรรมดา ไม่มีทานองเหมือนอ่านร้อยแก้ว แต่มีการ แบ่งจังหวะวรรคตอนให้ถูกต้องตามชนิดของคาประพันธ์ ๒. อ่านแบบทานองเสนาะ เป็นการอ่านออกเสียงที่มีทานองอย่างไพเราะ มีเอื้อนเสียง เน้นสัมผัส แบ่งจังหวะจานวนคา การอ่านตามฉันทลักษณ์บังคับของคาประพันธ์

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก