ถ้าปัจจุบันประเทศไทยยังใช้ระบบศักราชแบบรัตนโกสินทร์ ร.ศ. ปีพุทธศักราช 2555 จะตรงกับรัตนโกสินทร์ศกใด

Toggle the table of contents

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ศตวรรษ: ปี:
  • 20
  • 21
  • 22
  • 2552
  • 2553
  • 2554
  • 2555
  • 2556
  • 2557
  • 2558
2012 ในปฏิทินอื่น
ปฏิทินสุริยคติไทย 2555
ปฏิทินเกรกอเรียน 2012
MMXII
Ab urbe condita 2765
ปฏิทินอาร์มีเนีย 1461
ԹՎ ՌՆԿԱ
ปฏิทินอัสซีเรีย 6762
ปฏิทินบาไฮ 168–169
ปฏิทินเบงกอล 1419
ปฏิทินเบอร์เบอร์ 2962
ปีในรัชกาลอังกฤษ 60 Eliz. 2 – 61 Eliz. 2
พุทธศักราช 2556
ปฏิทินพม่า 1374
ปฏิทินไบแซนไทน์ 7520–7521
ปฏิทินจีน 辛卯年 (เถาะธาตุโลหะ)
4708 หรือ 4648
    — ถึง —
壬辰年 (มะโรงธาตุน้ำ)
4709 หรือ 4649
ปฏิทินคอปติก 1728–1729
ปฏิทินดิสคอร์เดีย 3178
ปฏิทินเอธิโอเปีย 2004–2005
ปฏิทินฮีบรู 5772–5773
ปฏิทินฮินดู
 - วิกรมสมวัต 2068–2069
 - ศกสมวัต 1934–1935
 - กลียุค 5113–5114
ปฏิทินโฮโลซีน 12012
ปฏิทินอิกโบ 1012–1013
ปฏิทินอิหร่าน 1390–1391
ปฏิทินอิสลาม 1433–1434
ปฏิทินญี่ปุ่น ศักราชเฮเซ 24
(平成24年)
ปฏิทินจูเช 101
ปฏิทินจูเลียน เกรกอเรียนลบ 13 วัน
ปฏิทินเกาหลี 4345
ปฏิทินหมินกั๋ว ROC 101
民國101年
เวลายูนิกซ์ 1325376000–1356998399

กล่องนี้:

  • ดู
  • คุย
  • แก้

พุทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็น ปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น

  • ปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)

สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้ พ.ศ. 2555 เป็นปีสหกรณ์สากล โดยเน้นความร่วมมือเข้าไปมีส่วนยังการพัฒนาทางสังคม-เศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การยอมรับผลกระทบของการพัฒนาต่อการลดความยากจน การสร้างงานและบูรณาการทางสังคม[1] นอกจากนี้ยังกำหนดให้เป็นปีสากลแห่งพลังงานยั่งยืนสำหรับทุกคน[2]

นอกจากนี้ ยังได้มีการประกาศให้เป็นปีอลัน ทัวริง เพื่อเฉลิมฉลองนักคณิตศาสตร์ ผู้บุกเบิกคอมพิวเตอร์และนักถอดรหัสในโอกาสครบรอบหนึ่งร้อยปีชาตะกาลของอลัน ทัวริง[3]

มีความเชื่อที่ได้รับความนิยมหลากหลายเกี่ยวกับ พ.ศ. 2555 ความเชื่อเหล่านี้มีตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงทางจิตวิญญาณไปเป็นนิวรณ์ (apocalyptic) และเน้นการตีความปฏิทินแบบนับ นักยาวเมโสอเมริกาเป็นศูนย์กลางวิทยาศาสตร์ร่วมสมัยได้โต้แย้งกันเกี่ยวกับรุ่นการพยากรณ์[4]

ผู้นำประเทศไทย[แก้]

  • พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
  • นายกรัฐมนตรี: ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 – 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557)

สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2555

เหตุการณ์[แก้]

มกราคม[แก้]

  • 13–22 มกราคม – โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาวครั้งที่ 1 ณ เมืองอินส์บรุค ประเทศออสเตรีย โดยเจ้าเหรียญทองคือประเทศเยอรมนี

กุมภาพันธ์[แก้]

  • 1 กุมภาพันธ์ – เกิดการวิวาทที่สนามพอร์ตซาอิด เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 79 คน และอีกกว่า 1,000 คนได้รับบาดเจ็บ หลังการแข่งขันฟุตบอลในพอร์ตซาอิด ประเทศอียิปต์[5][6]
  • 15 กุมภาพันธ์ – เพลิงไหม้เรือนจำในโกมายากวา ประเทศฮอนดูรัส ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 359 ศพ[7]

มีนาคม[แก้]

  • 13 มีนาคม – สารานุกรมบริตานิกายุติการตีพิมพ์สารานุกรม หลังตีพิมพ์มานานกว่า 244 ปี และยอดขายลดลงจนเหลือเพียง 8,000 ชุด[8]
  • 22 มีนาคม – อามาดู ตูมานี ตูเร ประธานาธิบดีมาลี ถูกถอดจากตำแหน่งในเหตุรัฐประหาร หลังทหารแตกแถวโจมตีที่ทำการรัฐบาล[9]

เมษายน[แก้]

  • 6 เมษายน – ขบวนการปลดปล่อยแห่งชาติอาซาวัดประกาศเอกราชแยกอาซาวัดออกจากมาลีฝ่ายเดียว[10]
  • 12 เมษายน – ทหารกบฏในกินี-บิสเซาก่อรัฐประหารและเข้ายึดเมืองหลวงและจับกุมรักษาการประธานาธิบดี ไรมุนโด เปไรรา และผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีที่ได้คะแนนนำ คาร์ลอส โกเมส จูเนียร์ ท่ามกลางการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่กำลังมีขึ้น[11]
  • 13 เมษายน – กวางมยองซอง-3 ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรเกาหลีเหนือ ระเบิดไม่นานหลังปล่อย ต่อมา ประชาคมระหว่างประเทศประณามการปล่อยที่ล้มเหลวดังกล่าว การปล่อยนี้กำหนดเพื่อเป็นสัญลักษณ์ครบรอบหนึ่งร้อยปีวันเกิดของคิม อิลซอง ผู้ก่อตั้งสาธารณรัฐ[12]

พฤษภาคม[แก้]

  • 22 พฤษภาคม – โตเกียวสกายทรี หอคอยเซลฟ์ซัพพอร์ดติงที่สูงที่สุดในโลก เปิดอย่างเป็นทางการ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น[13]

มิถุนายน[แก้]

  • 6 มิถุนายน – เกิดปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ครั้งที่สองและสุดท้ายในรอบศตวรรษ ส่วนสองครั้งต่อไปทำนายว่าจะเกิดขึ้นใน ค.ศ. 2117 และ 2125 ตามลำดับ[14]
  • 24 มิถุนายน – เสินโจว 9 ยานอวกาศของจีน ซึ่งบรรทุกนักบินอวกาศจีนสามคน และมีนักบินอวกาศหญิงคนแรกของประเทศรวมอยู่ด้วย เทียบท่าด้วยมือกับส่วนโคจร เทียนกง 1 เป็นครั้งแรก เมื่อจีนบรรลุภารกิจ นับเป็นประเทศที่สามหลังจากสหรัฐอเมริกาและรัสเซีย[15]

กรกฎาคม[แก้]

  • 4 กรกฎาคม – เซิร์นประกาศการค้นพบอนุภาคชนิดใหม่ซึ่งมีคุณสมบัติสอดคล้องกับฮิกส์โบซอนหลังการทดลองที่เครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่[16][17][18][19][20]
  • 27 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม – การแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 30 ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร
  • 30–31 กรกฎาคม – เหตุการณ์ไฟฟ้าดับครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ เกิดขึ้นในประเทศอินเดีย ผู้คนกว่า 620 ล้านคนไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้[21]

สิงหาคม[แก้]

  • 6 สิงหาคม – ยานสำรวจคิวริออสซิตี ในภารกิจ Mars Science Laboratory (MSL) ประสบความสำเร็จในการลงจอดบนดาวอังคาร

กันยายน[แก้]

  • 7 กันยายน – แคนาดาตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับอิหร่านอย่างเป็นทางการโดยปิดสถานเอกอัครราชทูตในกรุงเตหะรานและสั่งขับทูตชาวอิหร่านออกจากกรุงออตตาวา จากประเด็นการสนับสนุนซีเรีย แผนการนิวเคลียร์และการละเมิดสิทธิมนุษยชน[23]
  • 10 กันยายน – วันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ครบ 150 ปี
  • 11-22 กันยายน – เกิดเหตุประท้วงและการก่อการร้ายต่อเนื่องโดยพุ่งเป้าไปยังคณะผู้แทนทางทูตสหรัฐอเมริกาทั่วโลก เช่นเดียวกับคณะผู้แทนทางทูตของเยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์และสหราชอาณาจักร ในสหรัฐอเมริกา รัฐบาลโอบามาอ้างการฉายภาพยนตร์ตัวอย่าง Innocence of Muslims ทางยูทูบ ว่าเป็นเหตุแห่งการโจมตี ภายหลังมีการค้นพบว่าเหตุการณ์เหล่านี้มิใช่การประท้วงที่เกิดเอง หากแต่เป็นการก่อการร้ายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน[24][25] เหตุโจมตีในลิเบียยังส่งผลให้เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำลิเบีย คริสโตเฟอร์ สตีเฟนส์ เสียชีวิต[26][27][28][29]

ตุลาคม[แก้]

  • 14 ตุลาคม - นักดิ่งพสุธาชาวออสเตรีย เฟลิกซ์ บามการ์ทเนอร์ กลายเป็นบุคคลแรกที่ทะลุกำแพงเสียงโดยไม่มีการช่วยเหลือของเครื่องจักรใด ๆ ระหว่างการดิ่งอวกาศ (space dive) จากบอลลูนอัดแก๊สฮีเลียมที่ความสูง 39 กิโลเมตร เหนือรอสเวลล์ รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา[30][31][32]
  • 24 – 30 ตุลาคม - เฮอร์ริเคนแซนดีคร่าชีวิตผู้คนไปอย่างน้อย 209 คนในแคริบเบียน บาฮามาส สหรัฐอเมริกา และแคนาดา สตอร์มเสิร์จจำนวนหนึ่งก่อความเสียหายแก่ชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกา[33][34][35]

พฤศจิกายน[แก้]

  • 14 – 21 พฤศจิกายน - อิสราเอลเปิดฉากปฏิบัติการเสาค้ำเมฆาต่อฉนวนกาซาที่ปาเลสไตน์ปกครองอยู่ และสามารถสังหารอาเหม็ด จาบารี หัวหน้าฝ่ายทหารของฮามาส หนึ่งสัปดาห์ต่อมา ชาวปาเลสไตน์เสียชีวิต 140 คน และชาวอิสราเอลเสียชีวิต 5 คน การหยุดยิงระหว่างอิสราเอลกับฮามาสประกาศโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอียิปต์และรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐ[36][37][38][39][40]
  • 25 พฤศจิกายน - 9 ธันวาคม - พายุไต้ฝุ่นโบพา คร่าชีวิตผู้คนไปอย่างน้อย 1,067 คน และมีผู้สูญหายอีกราว 838 คน สร้างความเสียหายหนักต่อเกาะมินดาเนา[41][42][43]
  • 29 พฤศจิกายน - สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติอนุมัติญัตติเสนอให้สถานะรัฐผู้สังเกตการณ์มิใช่สมาชิกแก่ปาเลสไตน์[44]

ธันวาคม[แก้]

  • 8 ธันวาคม - ที่ประชุมการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศสหประชาชาติตกลงขยายพิธีสารเกียวโตไปถึง พ.ศ. 2563[45]

วันเกิด[แก้]

  • 16 มกราคม – รุ่งรดา รุ่งลิขิตเจริญ นักแสดงเด็กหญิงชาวไทย
  • 24 มกราคม – เจ้าหญิงอธีนาแห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงแห่งพระราชวงศ์เดนมาร์ก
  • 23 กุมภาพันธ์ – เจ้าหญิงเอสแตล ดัชเชสแห่งเอิสเตอร์เยิตลันด์ เจ้าหญิงแห่งพระราชวงศ์สวีเดน

วันถึงแก่กรรม[แก้]

มกราคม[แก้]

  • 20 มกราคม – เอตต้า เจมส์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (เกิด 25 มกราคม พ.ศ. 2481)

กุมภาพันธ์[แก้]

  • 1 กุมภาพันธ์ – วิสวาวา ซิมบอร์สกา (เกิด 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2466)
  • 3 กุมภาพันธ์ – แซมวล ยูด (เกิด 16 เมษายน พ.ศ. 2465)
  • 11 กุมภาพันธ์ – วิตนีย์ ฮิวสตัน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2506)
  • 16 กุมภาพันธ์ – ชิกะเงะ อะวะชิมะ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น (เกิด 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2467)
  • 17 กุมภาพันธ์ – เอนรีเก เซียร์รา นักดนตรีชาวสเปน (เกิด 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2500)
  • 28 กุมภาพันธ์ – ไป่ จิง (เกิด 4 มิถุนายน พ.ศ. 2526)
  • 29 กุมภาพันธ์ – เดวี โจนส์ นักร้อง นักแต่งเพลง และนักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 30 ธันวาคม พ.ศ. 2488)

มีนาคม[แก้]

  • 6 มีนาคม - ฟรังซิชกู ชาวีแอร์ ดู อามารัล ประธานาธิบดีติมอร์เลสเต (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2480)
  • 18 มีนาคม –
    • พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 5 พระมหากษัตริย์ตองงา (พระราชสมภพ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2491)[46]

เมษายน[แก้]

  • 2 เมษายน – เจ้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์ แห่งออตโตมัน (ประสูติ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464)[47]
  • 3 เมษายน – ทีโอฟิโล สตีเวนสัน นักมวยปล้ำชาวอเมริกัน (เกิด 4 ตุลาคม พ.ศ. 2471)

พฤษภาคม[แก้]

  • 9 พฤษภาคม – วิดัล แซสซูน นักออกแบบทรงผมชาวอังกฤษ (เกิด 16 มกราคม พ.ศ. 2471)
  • 17 พฤษภาคม – ดอนนา ซัมเมอร์ นักร้อง นักประพันธ์เพลงชาวอเมริกัน (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2491)
  • 20 พฤษภาคม – โรบิน กิบบ์ นักดนตรีชาวอังกฤษ (เกิด 22 ธันวาคม พ.ศ. 2492)
  • 26 พฤษภาคม – แท่งทอง เกียรติทวีสุข นักมวยสากล (เกิด 13 สิงหาคม พ.ศ. 2521)

มิถุนายน[แก้]

  • 6 มิถุนายน – เจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะ พระญาติชั้นที่หนึ่งในสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ (ประสูติ 5 มกราคม พ.ศ. 2489)
  • 11 มิถุนายน – ทีโอฟิโล สตีเวนสัน นักมวยสากลสมัครเล่นชาวคิวบา (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2495)
  • 16 มิถุนายน – เจ้าชายนาเยฟ บิน อับดุลลาซิซ อัล ซาอุด มกุฎราชกุมารแห่งซาอุดีอาระเบีย (ประสูติ พ.ศ. 2476)
  • 26 มิถุนายน –
    • นอรา เอฟรอน นักเขียนบทและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2484)

กรกฎาคม[แก้]

  • 12 กรกฎาคม – ดารา ซิงห์ นักแสดงชาวอินเดีย (เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471)
  • 18 กรกฎาคม – ราเชศ ขันนา นักแสดงชาวอินเดีย (เกิด 29 ธันวาคม พ.ศ. 2485)

สิงหาคม[แก้]

  • 9 สิงหาคม – คมน์ อรรฆเดช นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ (เกิด 26 มีนาคม พ.ศ. 2489)
  • 15 สิงหาคม – แฮร์รี แฮร์ริสัน นักประพันธ์ชาวอเมริกัน (เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2468)
  • 19 สิงหาคม – โทนี่ สก็อตต์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2487)
  • 25 สิงหาคม –
    • นีล อาร์มสตรอง นักบินอวกาศชาวอเมริกัน (เกิด 5 สิงหาคม พ.ศ. 2473)

กันยายน[แก้]

  • 3 กันยายน – ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 10 ธันวาคม พ.ศ. 2500)
  • 16 กันยายน - เจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ (เกิด 9 มิถุนายน พ.ศ. 2473)
  • 25 กันยายน - แอนดี้ วิลเลียมส์ นักร้องเพลงป็อปชาวอเมริกัน (เกิด 3 ธันวาคม พ.ศ. 2470)

ตุลาคม[แก้]

  • 15 ตุลาคม –
    • พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (ราชสมภพ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2465)

พฤศจิกายน[แก้]

  • 28 พฤศจิกายน - โจเซฟ เมอร์รีย์ ศัลยแพทย์ชาวอเมริกัน เจ้าของรางวัลโนเบล (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2462)

ธันวาคม[แก้]

  • 30 ธันวาคม - รีตา เลวี-มอนตัลชีนี นักประสาทวิทยาชาวอิตาลี (เกิด 22 เมษายน พ.ศ. 2452)

รางวัลโนเบล[แก้]

  • สาขาเคมี - โรเบิร์ต เลฟโกวิทซ์ และ ไบรอัน โคบิลกา
  • สาขาเศรษฐศาสตร์ - อัลวิน อี. ร็อธ และ ลอยด์ เอส. แช็ปลีย์
  • สาขาวรรณกรรม - โม่เหยียน
  • สาขาสันติภาพ - สหภาพยุโรป
  • สาขาฟิสิกส์ - แซร์ฌ อาร็อช และ เดวิด เจ. ไวน์แลนด์
  • สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ - ชินยะ ยามานากะ และ จอห์น เกอดอน

วันสำคัญทางศาสนาและพิธีกรรมสำคัญ[แก้]

  • 23 มกราคม – วันตรุษจีน
  • 7 มีนาคม – วันมาฆบูชา
  • 13–15 เมษายน – สงกรานต์
  • 9 พฤษภาคม – วันพืชมงคล
  • 4 มิถุนายน – วันวิสาขบูชา
  • 12 มิถุนายน – วันอัฏฐมีบูชา
  • 23 มิถุนายน – วันบะจ่าง
  • 2 สิงหาคม – วันอาสาฬหบูชา
  • 3 สิงหาคม – วันเข้าพรรษา
  • 31 สิงหาคม – วันสารทจีน
  • 30 กันยายน – วันไหว้พระจันทร์
  • 15–23 ตุลาคม – เทศกาลกินเจ
  • 30 ตุลาคม – วันออกพรรษา
  • 28 พฤศจิกายน – วันลอยกระทง
  • 25 ธันวาคม – วันคริสต์มาส

บันเทิงคดีที่อ้างอิงถึงปีนี้[แก้]

ภาพยนตร์[แก้]

  • ซิ่ง สั่ง ตาย (Death Race) (พ.ศ. 2551) – ในเนื้อเรื่องกล่าวว่าในปี ค.ศ. 2012 เป็นปีที่ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาล่มสลาย
  • ข้าคือตำนานพิฆาตมหากาฬ (I Am Legend) (พ.ศ. 2552) – ดำเนินเรื่องในปีนี้
  • 2012 วันสิ้นโลก (2012) (พ.ศ. 2552) – ดำเนินเรื่องในปีนี้ เนื้อเรื่องกล่าวถึงเหตุการณ์วันสิ้นโลกที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 2012 อ้างตามปฏิทินมายา

การ์ตูน[แก้]

  • หนังสือการ์ตูนเรื่อง วัยซนคนการ์ตูน ดำเนินเหตุการณ์ตามปีนี้

อ้างอิง[แก้]

  • หว่า แซ่อึ้ง, เลี๊ยกไฮ้ แซ่โอ้ว, ปฏิทิน 100 ปี เทียบ 3 ภาษา, (ไม่ทราบปีที่พิมพ์).

  1. "United Nations International Year of Cooperatives 2012". Social.un.org. 2011-10-31. สืบค้นเมื่อ 2011-11-13.
  2. "United Nations International Year of Sustainability for All 2012". Un.org. สืบค้นเมื่อ 2011-11-13.
  3. "TurningCentenary.eu". Turingcentenary.eu. 2010-04-09. สืบค้นเมื่อ 2010-06-02.
  4. "2012: Beginning of the End or Why the World Won't End?". NASA.
  5. Fahmy, Mohamed Fadel; Lee, Ian (2 February 2012). "Anger flares in Egypt after 79 die in soccer riot". ระบบแพร่สัญญาณเทอร์เนอร์. สืบค้นเมื่อ 2 February 2012.
  6. "Egypt football violence leaves many dead in Port Said". BBC News. 1 February 2012. สืบค้นเมื่อ 1 February 2012.
  7. "Honduras Prison Fire Kills Hundreds Of Inmates". Sky News. February 15, 2012. สืบค้นเมื่อ February 15, 2012.
  8. McCarthy, Tom (2012-03-13). "Encyclopedia Britannica halts print publication after 244 years". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 2012-03-14.
  9. Adam Nossiter (22 March 2012). "Soldiers Declare Coup in Mali". The New York Times. The New York Times Company. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  10. "Tuareg rebels declare independence in north Mali". France 24. 2012-04-06. สืบค้นเมื่อ 2012-04-06.
  11. "The Associated Press: Military: Guinea-Bissau prime minister arrested". Google.com. 2012-04-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-13. สืบค้นเมื่อ 2012-05-06.
  12. Sang-hun, Choe (March 16, 2012). "North Korea Says It Will Launch Satellite Into Orbit". Nytimes.com. สืบค้นเมื่อ March 16, 2012.
  13. "High winds mar opening of Tokyo's Skytree tower". BBC News. 2012-05-22. สืบค้นเมื่อ 2012-07-04.
  14. NASA. "NASA Transit of Venus". สืบค้นเมื่อ January 23, 2012.
  15. Wall Street Journal. "Chinese Spacecraft Docks With Orbiting Module". สืบค้นเมื่อ July 4, 2012.[ลิงก์เสีย]
  16. "CERN experiments observe particle consistent with long-sought Higgs boson". CERN press release. 4 July 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-05. สืบค้นเมื่อ 4 July 2012.
  17. Taylor, Lucas (4 July 2012). "Observation of a New Particle with a Mass of 125 GeV". CMS Public Website. CERN.
  18. "Latest Results from ATLAS Higgs Search". ATLAS. 4 July 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-07. สืบค้นเมื่อ 4 July 2012.
  19. Video (04:38) – CERN Announcement (4 July 2012) Of Higgs Boson Discovery.
  20. Overbye, Dennis (4 July 2012). "A New Particle Could Be Physics' Holy Grail". New York Times. สืบค้นเมื่อ 4 July 2012.
  21. Hriday Sarma and Ruby Russell (31 July 2012). "620 million without power in India after 3 power grids fail". USA Today.
  22. "Canada cuts diplomatic ties with Iran". The Guardian. 2012-09-07. สืบค้นเมื่อ 2012-09-08.
  23. //www.npr.org/2012/09/20/161450341/official-versions-diverge-over-u-s-consulate-attack
  24. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-04. สืบค้นเมื่อ 2012-10-13.
  25. "Christopher Stevens, U.S. ambassador to Libya, killed in Benghazi". Los Angeles Times. 2012-09-12. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-15. สืบค้นเมื่อ 2012-09-12.
  26. "Turmoil Over Contentious Video Spreads to Yemen and Iran". The New York Times. 2012-09-13. สืบค้นเมื่อ 2012-09-13.
  27. "Widespread protests against U.S. over anti-Muslim film". CBS News. 2012-09-14. สืบค้นเมื่อ 2012-09-14.
  28. "Middle East protests against US embassies - live". The Telegraph. 2012-09-14. สืบค้นเมื่อ 2012-09-14.
  29. (CNN). Retrieved October 14, 2012.
  30. <span class="plainlinks"NYDaily News:Red Bull Stratos เก็บถาวร 2012-10-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved October 15, 2012.
  31. "Felix Baumgartner's jump from space's edge watched by millions". Associated Press. 15 October 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-18. สืบค้นเมื่อ 15 October 2012.
  32. CNN Report: Superstorm Sandy. Retrieved October 30, 2012.
  33. Cleveland News Superstorm Sandy. Retrieved October 30, 2012.
  34. Telegraph.co.uk News Report. October 30, 2012.
  35. "Hamas military chief killed in Israeli attack". Al Jazeera English. 14 November 2012. สืบค้นเมื่อ 15 November 2012.
  36. "Hamas remain defiant as Israeli strikes hit Gaza". Euronews. 15 November 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-31. สืบค้นเมื่อ 15 November 2012.
  37. USA Today News Report on Conflict Treaty. Retrieved 23 November 2012.
  38. The New York Times Report on Conflict Treaty. Retrieved 23 November 2012.
  39. CNN Report Report on Conflict Treaty. Retrieved 23 November 2012.
  40. "Philippine typhoon toll continues to climb". aljazeera. สืบค้นเมื่อ 10 December 2012.
  41. "Philippines, leftist rebels declare truces in disaster areas". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-12. สืบค้นเมื่อ 10 December 2012.
  42. "'Pablo:' 890 missing, 714 dead - NDRRMC". Rappler. สืบค้นเมื่อ 11 December 2012.
  43. Vick, Karl (22 November 2012). "Why Palestine Will Win Big at the UN". Time. สืบค้นเมื่อ 29 November 2012.
  44. "Climate talks: UN forum extends Kyoto Protocol to 2020". BBC News. 8 December 2012.
  45. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-21. สืบค้นเมื่อ 2012-03-19.
  46. "Neslisah Sultan, Last Ottoman Dynasty Member, Dies at 91" (Press release) (ภาษาอังกฤษ). The Inquisitr. 4 เมษายน 2555. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2555.

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก