ร่าง พระราชบัญญัติ

สรุปสาระสำคัญร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. ....

              สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า ได้ดำเนินการศึกษาวิจัย เรื่อง “การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการร่างกฎหมาย” ใน พ.ศ.2552 และได้ขยายผลการศึกษาวิจัยดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติจริง ด้วยการสร้างความรู้และพัฒนาสามารถของประชาชนในการใช้สิทธิริเริ่มกฎหมายตามรัฐธรรมนูญโดยวิธีการเสนอร่างกฎหมาย และจากการดำเนินดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการจัดทำร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. .... ทั้งนี้ ในวันที่ 29 มกราคม 2561 สถาบันร่วมกับผู้ริเริ่มเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้ยื่นเอกสารริเริ่มร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. .... ต่อนายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่หนึ่ง
              ร่าง พ.ร.บ.การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. ....สำคัญและมีเนื้อหาอย่างไร ดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่ลิงค์ด้านล่างนี้ 

สรุปสาระสำคัญร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. ....
                  ภายหลังการพิจารณาผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งผลการระดม ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งรับผิดชอบงานเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน และได้ปรึกษาหารือในที่ประชุมคณะกรรมการดำ เนินโครงการฯ แล้ว จึงได้พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. ....

สรุปสาระสำคัญร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. .... (367 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

ร่างกฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล

ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ....

เหตุผล:

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แ ละแนวโน้มเกิดการละเมิดสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลและสิทธิความเป็นส่วนตัวมีเ พิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการนำข้อมูลส่วนบุคคลไปแสวงหาประโยชน์หรือเปิดเผยโดย มิชอบหรือโดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล เพื่อประโยชน์ในทางการค้า หรือเพื่อประโยชน์ในการนำข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ในการกระทำความผิดต่าง ๆ เช่น การฉ้อโกง การหมิ่นประมาท เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้ ย่อมส่งผลกระท บต่อความเชื่อมั่นในการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามนโยบายของรัฐ บาล ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่ประเทศไทยจะต้องเร่งผลักดันให้มีกฎหมายว่า ด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของประเทศ เพื่อสร้างกลไกการให้ความคุ้มคร องข้อมูลส่วนุบคคลที่เป็นมาตรฐานเดียวกันและสอดคล้องกับมาตรฐานที่เป็นสาก ล โดยต้องไม่สร้างภาระหน้าที่แก่ผู้เกี่ยวข้องจนกลายเป็นข้อจำกัดหรืออุปส รรคในการประกอบธุรกิจการค้าหรือการให้บริการของภาคส่วนต่าง ๆ จนเกินสมควร เพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ดาวน์โหลดไฟล์เอกสาร:

  • ‐ ร่างฯ ที่ ครม. รับหลักการ
  • ‐ ร่างฯ ที่ สคก. ตรวจพิจารณาแล้ว
  • ‐ ร่างฯ ที่ ครม. รับหลักการ (เมื่อวันที่ 22 พ.ค. 61)
  • ‐ ร่างฯ ที่ ครม. รับฟังความคิดเห็น เมื่อ ก.ย. 61
  • ‐ ร่างฯ ที่เสนอ สนช. วาระหนึ่ง
  • ‐ ผลการพิจารณาในวาระที่หนึ่ง
  • ‐ รายงานกรรมาธิการ
  • ‐ ร่างที่ สนช. เห็นชอบ
  • ‐ ข้อสังเกตคณะกรรมาธิการ
  • ‐ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

กลับ

คำถาม 5. ผู้มีอำนาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ คือใคร?

คำถาม 5. ผู้มีอำนาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ คือใคร?

ตอบ   ผู้มีอำนาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ กระทำได้ 3 องค์กร คือ
          1) คณะรัฐมนตรี
          2) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 20 คน และพรรคการเมืองที่สภาผู้แทนราษฎรสังกัดนั้น รับรอง
          3) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 50,000 คน เข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญหมวด 3สิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ

ร่างกฎหมายที่รับฟังความคิดเห็น

ร่างกฎหมายที่รับฟังความคิดเห็น

1368สายด่วนกรมทรัพย์สินทางปัญญา / ติดต่อ 02-528-7010

รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

กฎหมาย

กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์
เลขที่ 563 ถนนนนทบุรี  ต.บางกระสอ อ.เมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 อีเมล์ : สายด่วน 1368 

สงวนลิขสิทธิ์ © 2564 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์

กรมทรัพย์สินทางปัญญา

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก